บล.กรุงศรี พัฒนสิน พิจารณาความเป็นไปได้ถึงความเสี่ยง Black Swans ในปี 2024 คือความเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดขึ้นต่าแต่หากเกิด แล้วจะมีผลกระทบรุนแรงต่อตลาดหุ้นทั้งบวกและลบ
1) ความเสี่ยงทางลบ
-Cyber-attacks with AI (-): AI ที่พัฒ นาขึ้นอย่างก้าวกระโดด โดยเฉพาะการใช้ AI ในสาย Generative AI ฝ่าย KCS เชื่อว่ามีโอกาส เห็นการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวในการพัฒนาระบบการจารกรรมข้อมูล โดยประเทศคู่ขัดแย้ง
• Weather Disasters (-):ข้อมูลของสหประชาติ ปี 2023 โลกมีระดับอุณหภูมิสูงที่สุดเป็นประวัติศาสตร์จากภาวะโลกร้อน สภาวะดังกล่าวมี โอกาสก่อให้เกิดวิกฤตการณ์ทางธรรมชาติได้บ่อยครั้งขึ้น
2) ความเสี่ยงที่ยังต้องติดตาม
• Taiwan (*):จะมีการเลือกตั้งประธานาธิบดีในเดือน ม.ค.24 ซึ่งผลการเลือกตั้งจะกาหนดทิศทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไต้หวันกับจีน และสหรัฐ เชื่อว่าหากฝ่ายที่สนับสนุนจีนสามารถรวมตัวกันจัดตั้ง รัฐบาลได้จะสร้างผลเชิงบวกต่อภาพตลาดการเงินโลก แต่หากฝั่ง ต่อต้านจีนครองเสียงข้างมากต้องติดตามแนวนโยบายว่ามีโอกาสข้าม เส้นที่จีนขีดไว้ ?
-Inflation to Deflation (*): เงินเฟ้อที่เริ่มชะลอลงในปี 2023 จาก การใช้นโยบายการเงินแบบตึงตัว นำโดยสหรัฐ, ยุโรป ส่งผลให้วงจร ดอกเบี้ยนโยบายขาขึ้นเข้าสู่ปลายทางแล้วในช่วง 4Q23 อย่างไรก็ตาม นับจากนี้ไป Fed จะเป็นตัวกาหนดภาพเงินเฟ้อปีหน้า หากปรับลดอัตรา ดอกเบี้ยนโยบายช้าเกินไปและเศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มฟื้นตัวได้ช้าหรือ ชะลอลง มีโอกาสท่ีประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่จะประสบภาวะเงินฝืด ขณะที่หากผ่อนคลายเร็วเกินไป มีความเสี่ยงทำให้เกิดภาพเงินเฟ้อ ลดลงสู่กรอบเป้าหมายธนาคารกลางต่างๆ ช้ากว่าความคาดหวัง จะ ส่งผลต่อภาพความผันผวนต่อสินทรัพย์เสี่ยง เศรษฐกิจระยะกลางจะมี ความเสี่ยง จากวงจรดอกเบี้ยเข้มงวดอีกรอบ
-U.S. Election (*): การเลือกต้ังประธานาธิบดีสหรัฐจะเกิดขึ้นในช่วง ปลายปี 2024 มีโอกาสสร้างความเสี่ยง เนื่องจากผลการเลือกตั้งเป็น ตัวแปรสาคัญที่จะกำหนดหลายปัจจัยท่ีมีผลต่อทิศทางเศรษฐกิจและ การเงินโลก ทั้ง 1) แนวทางนโยบายการคลัง/การเงินสหรัฐ 2) ทิศทาง ความสัมพันธ์เชิงภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างสหรัฐกับจีน 3) แนวทางของ สหรัฐในการแทรกแทรงความขัดแย้งของคู่ขัดแย้งสาคัญของโลก อาทิ รัสเซีย/ยูเครน, อิสราเอล/กลุ่มฮามาส
3) ความเสี่ยงที่จะสร้าง Upside Risk ต่อสินทรัพย์เสี่ยง
-India/China Global Recovery (+): จีนประสบปัญหาเศรษฐกิจฟื้น ตัวช้ากว่าคาดประกอบกับปัญหาเงินฝืดในปี 2023 ต่างจากประเทศ เศรษฐกิจใหญ่อื่นที่เป็นภาพฟื้นตัวและประสบกับปัญหาเงินเฟ้อ ในขณะที่ อินเดียเป็นประเทศที่เติบโตเร็วและเงินเฟ้อสูงแต่โครงสร้างเศรษฐกิจยัง ค่อนข้างเปราะบาง ฝ่ายวิจัยมองว่าหากจีนและอินเดียสามารถฟื้นตัวได้ เร็วกว่าที่ตลาดคาดการณ์จะสะท้อนภาพเชิงบวกต่อเศรษฐกิจและตลาด การเงินโลก
Strategy : KCS มองภาพเศรษฐกิจโลกและตลาดเงินโลกเป็นเชิงบวกในปี 2024 จากเงินเฟ้อที่ชะลอลง ประกอบกับวงจรนโยบาย ดอกเบี้ยที่จะกลับเป็นขาลง และเศรษฐกิจจีนที่เชื่อว่าเร่งฟื้นตัว หลังจาก หลากหลายสัญญาณทยอยปรากฎเป็นลำดับ อย่างไรก็ตาม มีหลากหลายปัจจัยที่อาจเป็น Black Swans และส่งผลกระทบที่ตลาดไม่คาดคิดต่อเศรษฐกิจและตลาดการเงินได้ จึงเป็นที่มาที่ทีมกลยุทธ์ KCS รวบรวมความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ดังกล่าวเพิ่มเติมให้นักลงทุน ติดตาม
1) ความเสี่ยงทางลบ
-Cyber-attacks with AI (-): AI ที่พัฒ นาขึ้นอย่างก้าวกระโดด โดยเฉพาะการใช้ AI ในสาย Generative AI ฝ่าย KCS เชื่อว่ามีโอกาส เห็นการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวในการพัฒนาระบบการจารกรรมข้อมูล โดยประเทศคู่ขัดแย้ง
• Weather Disasters (-):ข้อมูลของสหประชาติ ปี 2023 โลกมีระดับอุณหภูมิสูงที่สุดเป็นประวัติศาสตร์จากภาวะโลกร้อน สภาวะดังกล่าวมี โอกาสก่อให้เกิดวิกฤตการณ์ทางธรรมชาติได้บ่อยครั้งขึ้น
2) ความเสี่ยงที่ยังต้องติดตาม
• Taiwan (*):จะมีการเลือกตั้งประธานาธิบดีในเดือน ม.ค.24 ซึ่งผลการเลือกตั้งจะกาหนดทิศทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไต้หวันกับจีน และสหรัฐ เชื่อว่าหากฝ่ายที่สนับสนุนจีนสามารถรวมตัวกันจัดตั้ง รัฐบาลได้จะสร้างผลเชิงบวกต่อภาพตลาดการเงินโลก แต่หากฝั่ง ต่อต้านจีนครองเสียงข้างมากต้องติดตามแนวนโยบายว่ามีโอกาสข้าม เส้นที่จีนขีดไว้ ?
-Inflation to Deflation (*): เงินเฟ้อที่เริ่มชะลอลงในปี 2023 จาก การใช้นโยบายการเงินแบบตึงตัว นำโดยสหรัฐ, ยุโรป ส่งผลให้วงจร ดอกเบี้ยนโยบายขาขึ้นเข้าสู่ปลายทางแล้วในช่วง 4Q23 อย่างไรก็ตาม นับจากนี้ไป Fed จะเป็นตัวกาหนดภาพเงินเฟ้อปีหน้า หากปรับลดอัตรา ดอกเบี้ยนโยบายช้าเกินไปและเศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มฟื้นตัวได้ช้าหรือ ชะลอลง มีโอกาสท่ีประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่จะประสบภาวะเงินฝืด ขณะที่หากผ่อนคลายเร็วเกินไป มีความเสี่ยงทำให้เกิดภาพเงินเฟ้อ ลดลงสู่กรอบเป้าหมายธนาคารกลางต่างๆ ช้ากว่าความคาดหวัง จะ ส่งผลต่อภาพความผันผวนต่อสินทรัพย์เสี่ยง เศรษฐกิจระยะกลางจะมี ความเสี่ยง จากวงจรดอกเบี้ยเข้มงวดอีกรอบ
-U.S. Election (*): การเลือกต้ังประธานาธิบดีสหรัฐจะเกิดขึ้นในช่วง ปลายปี 2024 มีโอกาสสร้างความเสี่ยง เนื่องจากผลการเลือกตั้งเป็น ตัวแปรสาคัญที่จะกำหนดหลายปัจจัยท่ีมีผลต่อทิศทางเศรษฐกิจและ การเงินโลก ทั้ง 1) แนวทางนโยบายการคลัง/การเงินสหรัฐ 2) ทิศทาง ความสัมพันธ์เชิงภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างสหรัฐกับจีน 3) แนวทางของ สหรัฐในการแทรกแทรงความขัดแย้งของคู่ขัดแย้งสาคัญของโลก อาทิ รัสเซีย/ยูเครน, อิสราเอล/กลุ่มฮามาส
3) ความเสี่ยงที่จะสร้าง Upside Risk ต่อสินทรัพย์เสี่ยง
-India/China Global Recovery (+): จีนประสบปัญหาเศรษฐกิจฟื้น ตัวช้ากว่าคาดประกอบกับปัญหาเงินฝืดในปี 2023 ต่างจากประเทศ เศรษฐกิจใหญ่อื่นที่เป็นภาพฟื้นตัวและประสบกับปัญหาเงินเฟ้อ ในขณะที่ อินเดียเป็นประเทศที่เติบโตเร็วและเงินเฟ้อสูงแต่โครงสร้างเศรษฐกิจยัง ค่อนข้างเปราะบาง ฝ่ายวิจัยมองว่าหากจีนและอินเดียสามารถฟื้นตัวได้ เร็วกว่าที่ตลาดคาดการณ์จะสะท้อนภาพเชิงบวกต่อเศรษฐกิจและตลาด การเงินโลก
Strategy : KCS มองภาพเศรษฐกิจโลกและตลาดเงินโลกเป็นเชิงบวกในปี 2024 จากเงินเฟ้อที่ชะลอลง ประกอบกับวงจรนโยบาย ดอกเบี้ยที่จะกลับเป็นขาลง และเศรษฐกิจจีนที่เชื่อว่าเร่งฟื้นตัว หลังจาก หลากหลายสัญญาณทยอยปรากฎเป็นลำดับ อย่างไรก็ตาม มีหลากหลายปัจจัยที่อาจเป็น Black Swans และส่งผลกระทบที่ตลาดไม่คาดคิดต่อเศรษฐกิจและตลาดการเงินได้ จึงเป็นที่มาที่ทีมกลยุทธ์ KCS รวบรวมความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ดังกล่าวเพิ่มเติมให้นักลงทุน ติดตาม