จับประเด็นหุ้นเด่น
รายงานพิเศษ : Digital Transformation โตต่อเนื่อง หนุนผลงาน INET ปี 66 ออลไทม์ไฮ
23 พฤษภาคม 2566
การปรับตัวเข้าสู่ยุคดิจิทัล (Digital Transformation) ยังเกิดขึ้นและเติบโตอย่างต่อเนื่อง หนุนผลงาน บมจ.อินเทอร์เน็ตประเทศไทย หรือINET ปี2566 ทำสถิติออลไทม์ไฮ ต้นทุนและค่าใช้จ่ายที่ลดลง
บริษัทหลักทรัพย์ กรุงศรี พัฒนสิน จ ากัด (มหาชน) วิเคราะห์หุ้น บมจ.อินเทอร์เน็ตประเทศไทย หรือ INET โดยระบุว่า ผลการดำเนินงาน 1Q23 บริษัทมีกำไรสุทธิ 30 ลบ. (+18%y-y -72%q-q) หากหักรายการพิเศษใน 4Q22 (กำไรจากขายเงินลงทุน 4 ลบ.) และ 1Q23 (ขาดทุนจากเงินลงทุน-1 ลบ.) ผลการดำเนินงานมีกำไร 31 ลบ. (+24%y-y -70%q-q) เติบโต y-y จากต้นทุน (-4%y-y -19%q-q) และค่าใช้จ่าย SG&A (-10%y-y +44%q-q) ลดลง ทำให้มี%Gross margin และ EBITDA margin ดีขึ้นเป็น 46.9% และ 46% ตามลำดับ ขณะที่เทียบ q-q กำไรลดลงจากรายได้รวม (+1%y-y -11%q-q) ลดลงจากบริการ Cloud และบริการ Digital platform ขณะที่ค่าใช้จ่าย SG&A เพิ่มขึ้น q-q และส่วนแบ่งก าไรลดลง
Key numbers
รายได้รวม 1Q23 ที่ 491 ลบ. (+1%y-y -11%q-q) เติบโตเล็กน้อย y-y จากรายได้บริการ Cloud (+4%y-y -14%q-q) เติบโตชดเชยบริการประเภทอื่นๆ โดยเฉพาะบริการ Digital platform มีรายได้ (-17%y-y -34%q-q) ลดลง y-y และ q-q ส่วน Co-location มีรายได้ (-10%y-y +2%q-q) กลับมาเติบโตเล็กน้อย q-q
Gross margin รวม 46.9% (vs 44.1% ใน 1Q22และ 41.8% ใน 4Q22) ดีขึ้น เนื่องจากต้นทุนบริการ (-4%y-y -19%q-q) ลดลงจากการลดต้นทุนการซื้อบริการจากผู้ขายทั้งในประเทศและต่างประเทศ และต้นทุน Internet access ลดลงต่อเนื่อง ขณะที่ต้นทุนบริการลดลง q-q กว่ารายได้ เกิดจากฐานสูง ใน 4Q22 บันทึกโบนัสพนักงาน Engineer/Programmer และที่เกี่ยวกับการให้บริการ
ค่าใช้จ่าย SG&A (-10%y-y +44%q-q) เพิ่มขึ้น q-q จากมีค่าใช้จ่ายสำรองหนี้ และค่าใช้จ่ายพนักงานเพิ่มขึ้น ทำให้ค่าใช้จ่าย SG&A ต่อรายได้มีสัดส่วน 15.5% ลดลงจาก 17.4% ใน 1Q22 แต่เพิ่มจาก 9.5% ใน 4Q22 รวมทั้งมี EBITDA margin ที่ 46% ดีขึ้นจาก 42.5% ใน 1Q22และ 44.5% ใน 4Q22
ค่าใช้จ่ายการเงิน (+16%y-y +1%q-q) เพิ่มขึ้น y-y และเพิ่มเล็กน้อย q-q จากมีเงินกู้เพิ่มขึ้น และผลของการปรับขึ้นดอกเบี้ย
ส่วนแบ่งกำไรจากบริษัทร่วมและเงินลงทุนในกิจการร่วมค้าสุทธิ +24 ลบ. (-14%y-y -64%q-q) มีสาเหตุจากผลการดำเนินบริษัทร่วมอื่นๆ รับรู้เป็นส่วนแบ่งขาดทุนเพิ่มขึ้น และส่วนแบ่งกำไรจาก INETREIT ลดลง q-q จากฐานสูงใน 4Q22 มีการประเมินมูลค่าเงินลงทุนใน INETREIT เพิ่มขึ้น
รายรับภาษี +8ลบ. (1Q22 รายรับภาษี+0.2 ลบ. และ 4Q22รายรับภาษี +14 ลบ.) ผลของ Defer tax จากการออกกองทุน INETREIT
แนวโน้มปรับเพิ่มประมาณการกำไร และรวม INET-W2
ผลการดำเนินงาน 1Q23 มีกำไรปกติคิดเป็น 18% ของทั้งปี คาดกำไรปกติ175 ลบ. (-11%y-y) เรามี แนวโน้มทบทวนประมาณกำไรของบริษัทใหม่ เนื่องจากต้นทุนบริการมีแนวโน้มต่ำกว่าเราคาด และเรายังไม่รวมจำนวนหุ้นเพิ่มทุนจากการออก INET-W2 จำนวนไม่เกิน 100 ล้านหน่วย มีอายุ 6 เดือน 10 วัน ใช้สิทธิ 2 ครั้งในวันที่ 25 ส.ค.23 และ 24 พ.ย.23 หากผู้ถือหุ้นใช้สิทธิทั้งหมด จะเกิด EPS dilution ราว 16.7%
ทั้งนี้บริษัทแนะนำ Buy สำหรับ INET (TP23F6.30 บาท) เนื่องจาก
1) ธุรกิจหลักของบริษัทอยู่ในอุตสาหกรรมที่มีแนวโน้มเติบโตจากความต้องการใช้งาน Cloud และขยายบริการ Digital Platform ซึ่งมี %margin สูง และ
2) มีโอกาสปรับเพิ่มกำไรของบริษัท
ขณะที่ กรรมการผู้จัดการ INET “มรกต กุลธรรมโยธิน” เปิดเผยถึงแผนการดำเนินธุรกิจในปี 2566 บริษัทฯ ตั้งเป้าผลงานในปีนี้เติบโตที่ 15% จากความต้องการใช้งานระบบคลาวด์ (Cloud) ที่เพิ่มมากขึ้น รวมถึงการบุกธุรกิจแพลตฟอร์ม (Platform) เพื่อช่วยองค์กร และหน่วยงานต่างๆ สามารถปรับตัวเข้าสู่ยุคดิจิทัล (Digital Transformation) และช่วยเสริมการทำงานในองค์กรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น มั่นใจว่า จะช่วยผลักดันผลงานปีนี้ออลไทม์ไฮ
บริษัทหลักทรัพย์ กรุงศรี พัฒนสิน จ ากัด (มหาชน) วิเคราะห์หุ้น บมจ.อินเทอร์เน็ตประเทศไทย หรือ INET โดยระบุว่า ผลการดำเนินงาน 1Q23 บริษัทมีกำไรสุทธิ 30 ลบ. (+18%y-y -72%q-q) หากหักรายการพิเศษใน 4Q22 (กำไรจากขายเงินลงทุน 4 ลบ.) และ 1Q23 (ขาดทุนจากเงินลงทุน-1 ลบ.) ผลการดำเนินงานมีกำไร 31 ลบ. (+24%y-y -70%q-q) เติบโต y-y จากต้นทุน (-4%y-y -19%q-q) และค่าใช้จ่าย SG&A (-10%y-y +44%q-q) ลดลง ทำให้มี%Gross margin และ EBITDA margin ดีขึ้นเป็น 46.9% และ 46% ตามลำดับ ขณะที่เทียบ q-q กำไรลดลงจากรายได้รวม (+1%y-y -11%q-q) ลดลงจากบริการ Cloud และบริการ Digital platform ขณะที่ค่าใช้จ่าย SG&A เพิ่มขึ้น q-q และส่วนแบ่งก าไรลดลง
Key numbers
รายได้รวม 1Q23 ที่ 491 ลบ. (+1%y-y -11%q-q) เติบโตเล็กน้อย y-y จากรายได้บริการ Cloud (+4%y-y -14%q-q) เติบโตชดเชยบริการประเภทอื่นๆ โดยเฉพาะบริการ Digital platform มีรายได้ (-17%y-y -34%q-q) ลดลง y-y และ q-q ส่วน Co-location มีรายได้ (-10%y-y +2%q-q) กลับมาเติบโตเล็กน้อย q-q
Gross margin รวม 46.9% (vs 44.1% ใน 1Q22และ 41.8% ใน 4Q22) ดีขึ้น เนื่องจากต้นทุนบริการ (-4%y-y -19%q-q) ลดลงจากการลดต้นทุนการซื้อบริการจากผู้ขายทั้งในประเทศและต่างประเทศ และต้นทุน Internet access ลดลงต่อเนื่อง ขณะที่ต้นทุนบริการลดลง q-q กว่ารายได้ เกิดจากฐานสูง ใน 4Q22 บันทึกโบนัสพนักงาน Engineer/Programmer และที่เกี่ยวกับการให้บริการ
ค่าใช้จ่าย SG&A (-10%y-y +44%q-q) เพิ่มขึ้น q-q จากมีค่าใช้จ่ายสำรองหนี้ และค่าใช้จ่ายพนักงานเพิ่มขึ้น ทำให้ค่าใช้จ่าย SG&A ต่อรายได้มีสัดส่วน 15.5% ลดลงจาก 17.4% ใน 1Q22 แต่เพิ่มจาก 9.5% ใน 4Q22 รวมทั้งมี EBITDA margin ที่ 46% ดีขึ้นจาก 42.5% ใน 1Q22และ 44.5% ใน 4Q22
ค่าใช้จ่ายการเงิน (+16%y-y +1%q-q) เพิ่มขึ้น y-y และเพิ่มเล็กน้อย q-q จากมีเงินกู้เพิ่มขึ้น และผลของการปรับขึ้นดอกเบี้ย
ส่วนแบ่งกำไรจากบริษัทร่วมและเงินลงทุนในกิจการร่วมค้าสุทธิ +24 ลบ. (-14%y-y -64%q-q) มีสาเหตุจากผลการดำเนินบริษัทร่วมอื่นๆ รับรู้เป็นส่วนแบ่งขาดทุนเพิ่มขึ้น และส่วนแบ่งกำไรจาก INETREIT ลดลง q-q จากฐานสูงใน 4Q22 มีการประเมินมูลค่าเงินลงทุนใน INETREIT เพิ่มขึ้น
รายรับภาษี +8ลบ. (1Q22 รายรับภาษี+0.2 ลบ. และ 4Q22รายรับภาษี +14 ลบ.) ผลของ Defer tax จากการออกกองทุน INETREIT
แนวโน้มปรับเพิ่มประมาณการกำไร และรวม INET-W2
ผลการดำเนินงาน 1Q23 มีกำไรปกติคิดเป็น 18% ของทั้งปี คาดกำไรปกติ175 ลบ. (-11%y-y) เรามี แนวโน้มทบทวนประมาณกำไรของบริษัทใหม่ เนื่องจากต้นทุนบริการมีแนวโน้มต่ำกว่าเราคาด และเรายังไม่รวมจำนวนหุ้นเพิ่มทุนจากการออก INET-W2 จำนวนไม่เกิน 100 ล้านหน่วย มีอายุ 6 เดือน 10 วัน ใช้สิทธิ 2 ครั้งในวันที่ 25 ส.ค.23 และ 24 พ.ย.23 หากผู้ถือหุ้นใช้สิทธิทั้งหมด จะเกิด EPS dilution ราว 16.7%
ทั้งนี้บริษัทแนะนำ Buy สำหรับ INET (TP23F6.30 บาท) เนื่องจาก
1) ธุรกิจหลักของบริษัทอยู่ในอุตสาหกรรมที่มีแนวโน้มเติบโตจากความต้องการใช้งาน Cloud และขยายบริการ Digital Platform ซึ่งมี %margin สูง และ
2) มีโอกาสปรับเพิ่มกำไรของบริษัท
ขณะที่ กรรมการผู้จัดการ INET “มรกต กุลธรรมโยธิน” เปิดเผยถึงแผนการดำเนินธุรกิจในปี 2566 บริษัทฯ ตั้งเป้าผลงานในปีนี้เติบโตที่ 15% จากความต้องการใช้งานระบบคลาวด์ (Cloud) ที่เพิ่มมากขึ้น รวมถึงการบุกธุรกิจแพลตฟอร์ม (Platform) เพื่อช่วยองค์กร และหน่วยงานต่างๆ สามารถปรับตัวเข้าสู่ยุคดิจิทัล (Digital Transformation) และช่วยเสริมการทำงานในองค์กรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น มั่นใจว่า จะช่วยผลักดันผลงานปีนี้ออลไทม์ไฮ